NEWโหลดรวมแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร)เนื้อหาประกอบด้วย
1
ความรู้เกี่ยวกับกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่2 แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
3 แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
4 สรุปข่าวเด่น-ความรู้ทั่วไปสังคม เศรษฐกิจ การเมือง 60
5 แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
6 แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
7 แนวข้อสอบ พรบ.แร่ พ.ศ.2510
8 ความรู้เกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ
9 แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ ชุด3
10 แนวข้อสอบงานพัสดุและงานสารบรรณ
11 ความรู้เรื่องการร่างหนังสือราชการ
12 แนวข้อสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานสำนักงาน
13 แนวข้อสอบความรู้งานธุรการ
14 แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ
15 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
MP3-P031 คู่มือการจัดทําเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุม
NEWโหลดรวมแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร) มี 2 แบบ***สั่งซื้อแบบไฟล์PDF 399.- (ส่งทางอีเมลล์) ได้รับภายในวันที่ชำระเงิน
***สั่งซื้อแบบหนังสือ 699.- (ส่งทางไปรษณีย์+ฟรีEMS) ได้รับภายใน 1-3 วัน***สนใจสั่งซื้อ NEWโหลดรวมแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร)*** ได้ที่ คุณ พงศ์ศิริ เจนวณิชชานนท์ (บิ๊ก)
โทร: 095-6473888
Line: papertestthai หรือ @ogo5720d (เติม @ ข้างหน้าด้วยนะครับ) หรือ แอดมาที่ http://line.me/ti/p/@ogo5720d
IG: papertestthaiรายละเอียดการสั่งซื้อและชำระเงินรายละเอียดการรับสมัครสอบ www.แนวข้อสอบราชการไทย.comติดตามข่าวสารสอบงานราชการได้ที่http://line.me/ti/p/@ogo5720d
www.แนวข้อสอบราชการไทย.com
Facebook: https://www.facebook.com/perdsobrajchakarn/ผลงานความสำเร็จของลูกค้าคลิ๊กที่นี่เพื่อดูความสำเร็จของลูกค้าเพิ่มเติมwww.แนวข้อสอบราชการไทย.com/webboard/viewtopic/112แจกแนวข้อสอบ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่1.กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่จัดตั้งขึ้น เมื่อใด
ก. 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ข. 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ค. 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ง. 4 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ตอบ ข. 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545
2.กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่มีชื่อภาษาอังกฤษว่าอะไร
ก. Department of Industry Promotion
ข. Industrial Estate Authority of Thailand
ค. Department of Mineral Resources
ง. Department of Primary Industries and Mines
ตอบ ง. Department of Primary Industries and Mines
3.ข้อใดไม่ใช่พันธกิจของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ก.ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการประกอบการอุตสาหกรรมแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานให้มีมาตรฐาน คุณภาพ และประสิทธิภาพ
ข.สนับสนุนทุนดำเนินงานให้ครอบคลุมความต้องการของภาคชนบท
ค.อนุญาต กำกับดูแล และส่งเสริมการประกอบการอุตสาหกรรมแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานให้เป็นไปตามกฎหมาย มีความปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ง.เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่อุตสาหกรรมพื้นฐานและ โลจิสติกส์อุตสาหกรรม ให้สอดรับกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
ตอบ ข. สนับสนุนทุนดำเนินงานให้ครอบคลุมความต้องการของภาคชนบท
4.กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ตั้งอยู่เขตใดของกรุงเทพฯ
ก.ราชเทวี
ข.จตุจักร
ค.ดุสิต
ง. สายไหม
ตอบ ก. ราชเทวี
5.ข้อใดคือวิสัยทัศน์ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ก.เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรมพื้นฐาน
ข.เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรมพื้นฐาน และระบบ โลจิสติกส์อุตสาหกรรม ให้มีประสิทธิภาพ
ค.เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรมพื้นฐาน และยึดมั่นในหลักการบริหารงาน
ง.เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรมพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม ให้มีประสิทธิภาพ ดุลยภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดล้อม
ตอบ ง. เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรมพื้นฐาน และระบบลจิสติกส์อุตสาหกรรม ให้มีประสิทธิภาพ ดุลยภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดล้อม
6.ข้อใดคือเว็บไซต์ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ก. www.dpim.go.th
ข. www.dpim.co.th
ค. www.dmr.go.th
ง. www.dmr.co.th
ตอบ ก. www.dpim.go.th
7.กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ มีชื่อย่อว่าอะไร
ก พ.
ข. อพร.
ค. กพร.
ง. พร.
ตอบ ค. กพร.
8.กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่สังกัดกระทรวงใด
ก. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ข. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค. กระทรวงอุตสาหกรรม
ง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตอบ ค. กระทรวงอุตสาหกรรม
9.ข้อใดคือเว็บไซต์ของกระทรวงการอุตสาหกรรม
ก. www.industry.go.th
ข. www.maco.go.th
ค.www.moct.org
ง. www.moac.go.th
ตอบ ก. www.industry.go.th
10.ข้อใดคือชื่อภาษาอังกฤษของกระทรวงการอุตสาหกรรม
ก.Ministry of Interior
ข.Ministry of Finance
ค.Ministry of Defense
ง.Ministry of Industry
ตอบ ง. Ministry of Industry
11.ยุทธศาสตร์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ มีกี่ยุทธศาสตร์
ก. 3 ยุทธศาสตร์
ข. 5 ยุทธศาสตร์
ค. 4 ยุทธศาสตร์
ง. 6 ยุทธศาสตร์
ตอบ ค. 4 ยุทธศาสตร์
12.ข้อใด ไม่ใช่ ประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ก.พัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับลูกค้า
ข.การพัฒนาสมรรถนะและประสิทธิภาพองค์กร
ค.การบริหารจัดการอุตสาหกรรมแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานให้รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ง.การเพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิต การจัดการทรัพยากรแร่ และวัตถุดิบของอุตสาหกรรม
ตอบ ก. พัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับลูกค้า
13.ข้อใดคือค่านิยมของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ก.มุ่งมั่นพัฒนา บูรณาการอย่างมืออาชีพ ยึดมั่นในศีลธรรมและคุณธรรม
ข.การทำงานที่มีประสิทธิผล
ค.การเปิดกว้างทางความคิด
ง.มุ่งมั่นพัฒนา บูรณาการอย่างมืออาชีพ
ตอบ ก. มุ่งมั่นพัฒนา บูรณาการอย่างมืออาชีพ ยึดมั่นในศีลธรรมและคุณธรรม
14.สัญลักษณ์ใดของ กพร. ที่แสดงถึงการเป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม
ก.รูปเฟือง
ข. พระนารายณ์
ค. รูปนก
ง. รูปอีเต้อและพลั่ว
ตอบ ข. พระนารายณ์
15.สัญลักษณ์ใดของ กพร.ที่สื่อถึงความเป็นองค์กรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรม
ก.รูปเฟือง
ข.พระนารายณ์
ค.รูปนก
ง. รูปอีเต้อและพลั่ว
ตอบ ก. รูปเฟือง
16.เดิมกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ มีชื่อว่าอะไร
ก.กรมทรัพยากรธรณี
ข. กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา
ค.กรมโลหกิจ
ง. กรมอุตสาหกรรมเหมืองแร่
ตอบ ข. กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา
17.กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ก่อตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่เท่าใด
ก.รัชกาลที่ 4
ข.รัชกาลที่ 3
ค.รัชกาลที่ 5
ง รัชกาลที่ 6
ตอบ ค. รัชกาลที่ 5
18.ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ก.ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยแร่ในส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมแร่ดีบุก และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
ข.ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ โลหการ อุตสาหกรรมพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของประเทศ
ค.ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมแร่ โลหการ อุตสาหกรรมพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม รวมทั้งสนับสนุนและให้บริการทางวิชาการ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
แนวข้อสอบ พรบ. แร่ พ.ศ.2510
1. พรบ. แร่ พ.ศ.2510 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 30 ธันวาคม 2510
ข. 31 ธันวาคม 2510
ค. 26 ธันวาคม 2510
ง. 27 ธันวาคม 2510
ตอบ ข. 31 ธันวาคม 2510
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
*[รก.2510/129/1พ/31 ธันวาคม 2510]
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “แร่”
ก. ทรัพยากรธรณีที่เป็นอนินทรียวัตถุ มีส่วนประกอบทางเคมีกับลักษณะทางฟิสิกส์ที่ไม่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
ข. แร่ต้องถลุงหรือหลอมก่อนใช้
ค. แร่รวมถึงถ่านหิน หินน้ำมัน หินอ่อน โลหะและตะกรันที่ได้จากโลหกรรม
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. ทรัพยากรธรณีที่เป็นอนินทรียวัตถุ มีส่วนประกอบทางเคมีกับลักษณะทางฟิสิกส์ที่ไม่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
แร่ หมายความว่า ทรัพยากรธรณีที่เป็นอนินทรียวัตถุ มีส่วนประกอบทางเคมีกับลักษณะทางฟิสิกส์แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อย ไม่ว่าจะต้องถลุงหรือหลอมก่อนใช้หรือไม่ และหมายความรวมตลอดถึงถ่านหิน หินน้ำมัน หินอ่อน โลหะและตะกรันที่ได้จาก โลหกรรม
3. การเจาะหรือขุด หรือกระทำด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายวิธี เพื่อให้รู้ว่าในพื้นที่มีแร่อยู่หรือไม่เพียงใด คืออะไร
ก. สำรวจแร่
ข. ขุดเจาะน้ำเกลือใต้ดิน
ค. ทำเหมือง
ง. ขุดหาแร่รายย่อย
ตอบ ก. สำรวจแร่
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
สำรวจแร่ หมายความว่า การเจาะหรือขุด หรือกระทำด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายวิธี เพื่อให้รู้ว่าในพื้นที่มีแร่อยู่หรือไม่เพียงใด
4. ข้อใดไม่ใช่การขุดเจาะน้ำเกลือใต้ดิน
ก. การกระทำแก่พื้นที่บกเพื่อให้ได้เกลือใต้ดิน
ข. การกระทำแก่พื้นที่ทางน้ำเพื่อให้ได้เกลือใต้ดิน
ค. การทำเหมืองแร่เกลือหินด้วยวิธีเหมืองละลายแร่
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. การทำเหมืองแร่เกลือหินด้วยวิธีเหมืองละลายแร่
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
ขุดเจาะน้ำเกลือใต้ดิน หมายความว่า การกระทำแก่พื้นที่ไม่ว่าจะเป็นที่บกหรือที่น้ำเพื่อให้ได้มาซึ่งน้ำเกลือใต้ดิน แต่ไม่รวมถึงการทำเหมืองแร่เกลือหินด้วยวิธีเหมืองละลายแร่
5. ใครเป็นผู้ประกาศเขตอำนาจเหมืองแร่
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ค. อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
ง. รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ตอบ ง. รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
เขตควบคุมแร่ หมายความว่า เขตพื้นที่ซึ่งรัฐมนตรีประกาศเป็นเขตควบคุมแร่
6. ข้อใดคืออาชญาบัตรสำรวจแร่
ก. หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อผูกขาดสำรวจแร่ภายในเขตที่กำหนดในหนังสือสำคัญนั้น
ข. หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อสำรวจแร่ภายในท้องที่ซึ่งระบุในหนังสือสำคัญนั้น
ค. หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อทำเหมืองก่อนได้
ง. หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อทำเหมืองภายในเขตที่กำหนดในหนังสือสำคัญนั้น
ตอบ ข. หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อสำรวจแร่ภายในท้องที่ซึ่งระบุในหนังสือสำคัญนั้น
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
อาชญาบัตรสำรวจแร่ หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อสำรวจแร่ภายในท้องที่ซึ่งระบุในหนังสือสำคัญนั้น
7. ข้อใดคือ ตะกรัน
ก. สารประกอบหรือสารพลอยได้อื่นใดที่เกิดจากการประกอบโลหกรรม
ข. เปลือกดิน
ค. ทราย กรวด
ง. หินที่เกิดจากการทำเหมือง
ตอบ ก. สารประกอบหรือสารพลอยได้อื่นใดที่เกิดจากการประกอบโลหกรรม
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
ตะกรัน หมายความว่า สารประกอบหรือสารพลอยได้อื่นใดที่เกิดจากการประกอบโลหกรรม
8. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดเขตอำนาจของสำนักงานทรัพยากรธรณีจังหวัด
ก. ต้องเป็นพื้นที่อยู่ในตำลบเดียวกัน อำเภอเดียวกัน และจังหวัดเดียวกัน
ข. ต้องเป็นพื้นที่จังหวัดที่อยู่ในภาคเดียวกัน
ค. ไม่จำเป็นต้องเป็นพื้นที่อยู่ในตำลบเดียวกัน อำเภอเดียวกัน และจังหวัดเดียวกัน
ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ค. ไม่จำเป็นต้องเป็นพื้นที่อยู่ในตำลบเดียวกัน อำเภอเดียวกัน และจังหวัดเดียวกัน
มาตรา 5 การจัดตั้งสำนักงานทรัพยากรธรณีจังหวัดหรือสำนักงานทรัพยากรธรณีอำเภอโดยจะให้มีเขตอำนาจตลอดเขตใด ให้กำหนดโดยกฎกระทรวง
ในการกำหนดเขตอำนาจของสำนักงานทรัพยากรธรณีจังหวัด จะกำหนดให้ตำบล หรืออำเภอใดรวมอยู่ในเขตอำนาจของสำนักงานทรัพยากรธรณีจังหวัดหนึ่ง ก็ให้กระทำได้โดยมิต้องคำนึงว่าตำบลหรืออำเภอนั้นอยู่ในเขตจังหวัดเดียวกันหรือไม่
9. คุณสมบัติของผู้ขอ หลักเกณฑ์และวิธีการและเงื่อนไขการขออาชญาบัตรผูกขาดสำรวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษประทานบัตรชั่วคราว ประทานบัตรและใบอนุญาต ตลอดจนการต่ออายุอาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตร ใบอนุญาตแต่งแร่และใบอนุญาตประกอบโลหกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามที่กำหนดใด
ก. กฎหมายใบอนุญาต
ข. กฎกระทรวง
ค. กฎอธิบดีทรัพยากรธรณี
ง. กฎรัฐมนตรี
ตอบ ข. กฎกระทรวง
มาตรา 6 วรรคสอง
คุณสมบัติของผู้ขอ หลักเกณฑ์และวิธีการและเงื่อนไขการขออาชญาบัตรผูกขาดสำรวจแร่ อาชญาบัตรพิเศษประทานบัตรชั่วคราว ประทานบัตรและใบอนุญาต ตลอดจนการต่ออายุอาชญาบัตรพิเศษ ประทานบัตร ใบอนุญาตแต่งแร่และใบอนุญาตประกอบโลหกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
10. ในมาตรา 4 พรบ.แร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มีการแก้ไขเพิ่มเติมคำนิยามใด
ก. สถานที่ฝากแร่
ข. มีแร่ไว้ในครอบครอง, เรือขุดหาแร่ , เขตควบคุมแร่ และ ผู้อำนวยการ
ค. แร่ และ ทำเหมือง
ง. น้ำเกลือใต้ดิน
ตอบ ก. สถานที่ฝากแร่ร้านจำหน่ายหนังสือสอบราชการออนไลน์ PaPerTestThai จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ถูกต้องตามกฏหมาย