พฤศจิกายน 22, 2024, 12:43:30 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: ขออนุญาต ลบโฆษณาขายหนังสือแนวข้อสอบนะคะ หากท่านที่ต้องการลงโฆษณาขายหนังสือ ขอให้ลงให้ห้องที่จัดเตรียมไว้ให้เลยค่ะ เพื่อไม่ปะปนกับ กระทู้ข้อสอบ  ขอขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เคยทำข้อสอบกรมการบินพลเรือนไม่ยากถ้ารู้แนวข้อสอบ  (อ่าน 8644 ครั้ง)
sheetbook8899
Hero Member
*****
กระทู้: 2196


ดูรายละเอียด อีเมล์
« เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2022, 08:15:37 pm »


สมบัติหลักๆ ของผู้เรียนกรมการบินพลเรือน
1.สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือคอมพิวเตอร์

2. ใช้ภาษาอังกฤษได้ดี

3. บุคลิกดี

4. ความสูงไม่น้อยกว่า 165 ซ.ม.

5. อายุไม่เกิน 38 ปี

6. ไม่สายตาสั้น และต้องไม่ตาบอดสี

7. ปฏิภาณไหวพริบดี มีสำนึกในความปลอดภัย

8. รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นสูง

9. สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

10. ละเอียดรอบคอบ ความจำดี ช่างสังเกต

ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการบินพลเรือน ที่นี่

ในการขับเครื่องบินนั้นจะต้องได้รับใบอนุญาตการบิน ผ่านการตรวจร่างกาย และทดสอบทางจิตเวชจากสถาบันเวชศาสตร์การบินหลังจากผ่านการสอบคัดเลือกตำแหน่งตามเงื่อนไข จะถูกส่งเข้าศึกษาต่อหลักสูตรการบินในสถาบันการบินพลเรือน ในหลักสูตร

1.หลักสูตรวิชานักบินพาณิชย์ตรี เวลาศึกษา 20 เดือน ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรประมาณ 2,200,000 บาท

2.หลักสูตรวิชานักบินเฮลิคอปเตอร์ตรี เวลาศึกษา 8 เดือน ค่าใช้จ่ายประมาณ 600,000 บาท

3.หลักสูตรพิเศษ เช่น หลักสูตรวิชานักบินส่วนบุคคล และหลักสูตรเพิ่มวุฒิการบินต่างๆ ได้แก่ การบินหลายเครื่องยนต์ และการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน ค่าใช้จ่ายประมาณ 1,800,000 บาท

เนื่องจากสถาบันการบินพลเรือนเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่ได้รับความช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติ มีหน้าที่ฝึกอบรมนักศึกษาทั้งในประเทศไทยและประเทศในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ในแขวงวิชาชีพต่างๆ ของกิจการการบินพลเรือน
นักศึกษาส่วนใหญ่จึงเป็นนักศึกษาฝากเรียนจากหน่วยราชการ องค์การ รัฐวิสาหกิจ จะรับนักศึกษาที่เรียนโดยทุนส่วนตัวเป็นจำนวนน้อย ทั้งนี้เพราะค่าใช้จ่ายในการศึกษาสูงมาก ไม่ต่ำกว่า 1,000,000 บาท

แต่สำหรับบางบริษัทการบิน เช่น บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) จะมีให้ทุนสำหรับบุคคลทั่วไปเพื่อสอบเข้าเป็นนักบินฝึกหัดทุนการบินไทย ส่วนสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนเกี่ยวกับวิศวกรรมการบินและอวกาศ

ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการบินพลเรือน ที่นี่

เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุรนารี เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วอยากเป็นนักบินก็ต้องเข้าเรียนหรืออบรมตามหลักสูตรข้างต้นเช่นเดียวกัน น้องๆ คนไหนสนใจเป็นนักบินก็ต้องตั้งใจเรียนและมีคุณสมบัติตามที่บอกไปนะคะ ฝันให้ไกลแล้วไปให้ถึงนะคะ

อยากทำงานกรมการบินพลเรือน ต้องทำอย่างไร
สาขาธุรกิจการบิน
บุคลิกภาพของผู้เรียน
1.สนใจเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ
2.มีมนุษยสัมพันธ์ดี
3.มั่นใจในตนเอง  กล้าแสดงออก  ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.บุคลิกดี  อดทน  และมีใจรักงานบริการ  ฯลฯ

สาขาธุรกิจการบิน
"เราสร้างมืออาชีพสู่โลกธุรกิจการบิน"
มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในธุรกิจการบิน  โดยหลักสูตรได้บูรณาการศาสตร์ต่าง  ๆ  และรวบรวม
องค์ความรู้เกี่ยวกับงานธุรกิจการบินที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาเป็นหลักสูตรวิชาชีพที่ทันสมัย  เน้นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถ
ในการแข่งขันสู่ตลาดแรงงานสากลด้านธุรกิจการบินที่ยั่งยืน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชีย  หลักสูตรจะครอบคลุมการวางแผนและการพัฒนา
การบริการ  การสื่อสาร  เทคโนโลยีสารสนเทศ  ภาษาต่างประเทศ  กฎหมาย  และการอนุรักษ์ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ  การจัดการศึกษาจึงเป็นไป
อย่างมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของภาคธุรกิจ  สังคมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ  นักศึกษาจะมีโอกาสได้ฝึกประสบการณ์ทั้งจากการเรียนในห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการและการทำงานเสมือนหนึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีชื่อเสียงในด้านธุรกิจการบิน  เนื่องจากมีเครือข่ายความ
ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา  หน่วยงานภาครัฐ  และภาคเอกชนที่มีชื่อเสียงในด้านธุรกิจการบินอย่างกว้างขวาง

ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการบินพลเรือน ที่นี่

โอกาสทางวิชาชีพกรมการบินพลเรือน
- พนักงานบริการและต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตสและสจ๊วต)
- พนักงานบริการและต้อนรับภาคพื้น
- พนักงานฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ
- เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่น การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยกรมศุลกากร กรมการขนส่งทางอากาศ สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมืองแผนกสำรองที่นั่งและจัดจำหน่ายบัตโดยสารของบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยวโอกาสทางวิชาชีพ
- พนักงานบริการและต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตสและสจ๊วต)- พนักงานบริการและต้อนรับภาคพื้น-พนักงานฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ
- เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่นการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยกรมศุลกากร กรมการขนส่งทางอากาศสำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมืองแผนกสำรองที่นั่งและจัดจำหน่ายบัตรโดยสารของบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยว  ฯลฯ

การประกอบอาชีพในอนาคต
-พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน 
-พนักงานบริการภาคพื้นของสายการบิน                                     
-พนักงานการท่าอากาศยาน 
-พนักงานของบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด
-พนักงานบริษัทขนส่งทางอากาศ
-พนักงานบริษัทตัวแทนจำหน่ายบัตรโดยสาร
-ผู้ประกอบการธุรกิจตัวแทนจำหน่ายบัตรโดยสาร ฯลฯ

สาขาการจัดการธุรกิจการบิน
อุตสาหกรรมการบิน เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่เป็นเครื่องมือสำคัญของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 
ซึ่งปัจจุบันมีความสำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากความต้องการในการเดินทางที่สะดวกรวดเร็วขึ้น การตอบสนองด้านการท่องเที่ยว 
การประกอบธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศ ที่สำคัญประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเป็นศูนย์กลางด้านการบิน
ดังนั้นจึงเป็นโอกาสดีที่จะผลิตบัณฑิตด้านการจัดการธุรกิจการบินเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการบิน โดยร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนสนับสนุนให้บัณฑิตมีคุณภาพ
โดยการทอดความรู้ความสามารถจากผู้ที่มีประสบการณ์ตรงในสาขาวิชาชีพทางด้านธุรกิจการบินที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน โดยเน้นทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงานสากลด้านธุรกิจการบิน  ตลอดจนเชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ในวิชาชีพเป็นวิทยากรพิเศษส่งเสริม
ให้หลักสูตรมีความเข้มแข็งในการพัฒนาบัณฑิต การพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบินจึงมีความสำคัญ และสอดคล้องกับความต้องการขององค์การต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ

โอกาสทางวิชาชีพ

(1) พนักงานบริการและต้อนรับบนเครื่องบิน ( flight attendant )

(2) พนักงานบริการและต้อนรับภาคพื้นดิน

(3) เจ้าหน้าที่ฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ  เจ้าหน้าที่แผนกคลังสินค้าทางอากาศ (Air Cargo) กรมการขนส่งทางอากาศ

(4) เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่น บริษัท การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย   จำกัด (มหาชน)

(5) กรมศุลกากร  สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย

(6) เจ้าหน้าที่แผนกสำรองที่นั่งและจัดจำหน่ายบัตรโดยสารของบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยว ตัวแทนส่งเสริมการตลาดสายการบินต่างๆ   ฯลฯ

โอกาสในการทำงาน
ปูพื้นฐานสู่การเป็นผู้ประกอบการ  ตลอดจนการทำงานในภาค
ธุรกิจและภาคเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ  อาทิ  ฝ่ายการตลาด
ฝ่ายต่างประเทศ  ฝ่ายจัดการขนส่งระหว่างประเทศ
ฝ่ายวิเคราะห์วางแผนและควบคุมคุณภาพการผลิตและ
ปฏิบัติการ  ฝ่ายการเงินและอาชีพเฉพาะด้าน  อาทิ
ที่ปรึกษาทางการลงทุนที่ปรึกษาการวางแผนการเงิน
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์  ฯลฯ

CAAT (The Civil Aviation Authority of Thailand) หรือ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
เป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังทุกการเดินทางโดยเครื่องบินของคุณ จัดเป็นหน่วยงานของรัฐ ขึ้นตรงกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ควบคุม
ส่งเสริมและพัฒนากิจการการบินพลเรือนของประเทศ ทั้งด้านมาตรฐานความปลอดภัย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรฐานสากล
เพื่อความปลอดภัยของสูงสุดของเจ้าหน้าที่และผู้โดยสารทุกคน

1.หน้าที่ของ CAAT ครอบคลุมถึงเรื่องใดบ้าง?
เพื่อความปลอดภัยของประชาชนที่เดินทางด้วยเครื่องบิน CAAT มีหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ควบคุมทุกเรื่องที่เกี่ยวกับการบิน และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับข้องกับการโดยสารด้วยเครื่องบิน ดังนี้

-กำกับ ดูแล ตรวจสอบการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมายและมาตรฐานสากลเพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสารทุกคน
-ออกใบอนุญาตให้กับ นักบิน เจ้าหน้าที่การบิน อากาศยานต่างๆ รวมไปถึงโดรน
-รับรองหลักสูตรและสถาบันฝึกอบรมบุคลากรด้านการบิน
-ไม่เพียงเท่านั้น CAAT ยังมีหน้าที่ทางด้านเศรษฐกิจในการส่งเสริมกิจการการบินพลเรือนของประเทศไทย
หน้าที่การดูแลจึงไม่ใช่เฉพาะผู้โดยสาร แต่ยังครอบคลุมในทุกๆ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบิน
CAAT จึงมีหน้าที่คอยดูแลความปลอดภัยให้ประชาชนโดยกำหนดมาตรฐานการทำงานของผู้ประจำหน้าที่ ตั้งแต่ตรวจสอบการทำงานของเจ้าที่ตรวจกระเป๋าที่สนามบิน กำกับการตรวจสอบสภาพเครื่องบินก่อนออกเดินทาง
ดูแลการปฏิบัติงานของลูกเรือ รวมไปถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่ในอุตสาหกรรมการบิน

2.หน้าที่การดูแลจึงไม่ใช่เฉพาะผู้โดยสาร แต่ยังครอบคลุมในทุกๆ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบิน
CAAT จึงมีหน้าที่คอยดูแลความปลอดภัยให้ประชาชนโดยกำหนดมาตรฐานการทำงานของผู้ประจำหน้าที่ ตั้งแต่ตรวจสอบการทำงานของเจ้าที่ตรวจกระเป๋าที่สนามบิน กำกับการตรวจสอบสภาพเครื่องบินก่อนออกเดินทาง
ดูแลการปฏิบัติงานของลูกเรือ รวมไปถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่ในอุตสาหกรรมการบิน

3.รับรองนักบิน เจ้าหน้าที่ รวมถึงหลักสูตรด้านการบิน
CAAT เชื่อว่าความปลอดภัยต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ได้นักบินและเจ้าหน้าที่ที่มีคุณภาพ จึงคัดกรองและรับรองหลักสูตรของสถาบันฝึกอบรมด้านการบินให้ได้มาตรฐานสากล เพื่อให้ทุกการเดินทางเต็มไปด้วยคุณภาพและความปลอดภั

4.ใส่ใจดูแลจนถึงการตรวจสอบเครื่องบิน
ความสำคัญของการกำกับดูแล ตรวจสอบมาตรฐานการทำงานของช่างซ่อมบำรุง เป็นอีกสิ่งที่ละเลยไม่ได้ เพราะนอตเพียง 1 ตัว ที่ตกหล่นไป ก็อาจมีผลให้เกิดความเสียหายเกินคาดคิดได้




แหล่งข้อมูลจาก https://www.sheetjula.com/
สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/


>รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ <<
>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน <<





บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.19 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
Blue Theme by Nevikup