|
พฤศจิกายน 22, 2024, 06:35:00 am | |||
|
ข่าว: ขออนุญาต ลบโฆษณาขายหนังสือแนวข้อสอบนะคะ หากท่านที่ต้องการลงโฆษณาขายหนังสือ ขอให้ลงให้ห้องที่จัดเตรียมไว้ให้เลยค่ะ เพื่อไม่ปะปนกับ กระทู้ข้อสอบ ขอขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ |
1
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / datebest.net - visit website and win smartphone!
เมื่อ: มกราคม 19, 2023, 06:07:28 am
|
||
เริ่มโดย ๋JPN2518 - กระทู้ล่าสุด โดย ๋JPN2518 | ||
https://datebest.net - visit website and win smartphone!
|
2
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / @pump_upp - best crypto pumps on telegram !
เมื่อ: มกราคม 16, 2023, 10:33:47 pm
|
||
เริ่มโดย supitcha - กระทู้ล่าสุด โดย supitcha | ||
https://t.me/pump_upp - best crypto pumps on telegram
Make 1000% and more within 1 day, join channel @pump_upp ! |
3
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / ใครเคยจะไปสอบกรมกิจการเด็กและเยาวชน เชิญในกระทู้
เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2022, 08:36:46 pm
|
||
เริ่มโดย sheetbook8899 - กระทู้ล่าสุด โดย sheetbook8899 | ||
คำแนะนำในการสอบกรมกิจการเด็กและเยาวชน
การสอบเข้ากรมกิจการเด็กและเยาวชน กรณีสอบเป็นพนักงานราชการทั่วไป ไม่ต้องผ่านภาค ก. ของ ก.พ. ในการสอบเป็นพนักงานราชการ วิชาที่ใช้สอบจะมีวิชาความสามารถทั่วไป วิชาเฉพาะตำแหน่ง และสอบสัมภาณ์ นอกจากนี้ควรมีความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ผู้บริหาร โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง 2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ 3. เล่าถึงประสบการณ์ในการ ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมกิจการเด็กและเยาวชน ที่นี่ การสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 –30 นาที แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย การเตรียมตัวสอบ วิชาที่ใช้สอบกรมกิจการเด็กและเยาวชน มีดังนี้คือ 1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง (อัตนัย) ( 100 คะแนน ) 2. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง โดยการสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกอย่างอื่นของผู้เข้ารับการคัดเลือก ทั้งนี้ผู้ที่จะผ่านการคัดเลือกจะต้องเป็นผู้ที่ได้คะแนนในการสอบแต่ละภาคไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ส่วนในกรณีตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ จะดำเนินการคัดเลือกโดยวิธีสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกอย่างอื่นของผู้เข้ารับการคัดเลือก และทดสอบความรู้ทางด้านพยาบาลศาสตร์โดยการปฏิบัติในสถานการณ์ต่างๆเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาคัดเลือก โดยผู้ที่ผ่านการคักเลือกจะต้องมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมกิจการเด็กและเยาวชน ที่นี่ รายละเอียดวิชาที่สอบ 1 ความรู้เกี่ยวกับ- กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2 แนวข้อสอบกรมกิจการเด็กและเยาวชน 3 ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ 4 แนวข้อสอบความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ 5 แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน ตำแหน่งที่สอบ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล นักจัดการงานทั่วไป นักจิตวิทยา นักพัฒนาสังคม หน้าที่ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน 1) พัฒนานโยบายและมาตรการด้านเด็กและเยาวชนในเชิงรุก 2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาเสริมสร้างทักษะชีวิตเด็กและเยาวชนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตตามช่วงวัย 3) พัฒนาและเชื่อมโยงระบบคุ้มครองเด็กและเยาวชนให้ครอบคลุมทั่วประเทศ 4) พัฒนาระบบสวัสดิการเด็กและเยาวชนที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย 5) การบูรณาการภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาเชิงประเด็น (Agenda Base) 6) พัฒนาบุคลากร และระบบบริหารองค์กรให้มีสมรรถนะสูง แหล่งข้อมูลจาก https://www.sheetjula.com/ สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/ >รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << >> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ << >> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ << >> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน << |
4
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / ใครเคยจะไปสอบกรมการศาสนา เชิญในกระทู้
เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2022, 08:32:34 pm
|
||
เริ่มโดย sheetbook8899 - กระทู้ล่าสุด โดย sheetbook8899 | ||
คำแนะนำในการสอบกรมการศาสนา
กรมการศาสนา( Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการศาสนา ที่นี่ ในการสอบเข้ากรมการศาสนา การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ. ก่อน แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้ากรมการปกครอง จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 การเตรียมตัวสอบ ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้ ฝึกทำข้อสอบเก่า โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการศาสนา ที่นี่ นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการศาสนา ที่นี่ ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง 2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ 3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน วิชาที่ใช้สอบเป็นพนักงานราชการ มีดังนี้คือ การประเมินครั้งที่ 1 โดยวิธีสอบข้อเขียน (100 คะแนน) - ความรู้เกี่ยวกับกรมการศาสนา - ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจและสังคม - ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ การประเมินครั้งที่ 2 โดยการสอบสัมภาษณ์ (100 คะแนน) พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ วิชาที่ใช้สอบเป็นข้าราชการ มีดังนี้คือ 1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ( 200 คะแนน ) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัยที่เกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติงานในด้านต่างๆตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งในสายงาน รวมถึงความรู้ทางวิชาการที่ใช้ในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านที่สมัคร ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง นโยบายรัฐบาล นโยบายของกระทรวงวัฒนธรรม นโยบายกรมการศาสนาและเหตุการณ์ปัจจุบันต่างๆ 2. การสอบสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง แหล่งข้อมูลจาก https://www.sheetjula.com/ สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/ >รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << >> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ << >> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ << >> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน << |
5
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / เคยทำข้อสอบกรมการแพทย์ไม่ยากถ้ารู้แนวข้อสอบ
เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2022, 08:24:31 pm
|
||
เริ่มโดย sheetbook8899 - กระทู้ล่าสุด โดย sheetbook8899 | ||
รวมตัวอย่างคำถามการสอบสัมภาษณ์ของราชการกรมการแพทย์
• ถามจบปีไหน มาทำงานกทม ได้ไหม • สอบขึ้นบัญชี ที่ไหนไว้บ้าง • ถามเรื่องSWOT • แผนชาติควรเพิ่มเติมอะไรอีกไหม • ไทยแลนด์ 4.0 คืออะไร อธิบายให้ฟังหน่อย • ลักษณะของแผนที่ดีเป็นยังไง • คุณคิดว่าคุณเหมาะสมกับนักวิเคราะห์ไหม • กลยุทธ์ นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 แผนชาติ แผนชีวิต • แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 12 ไทยแลนด์ 4.0 เอาให้เข้าใจ แล้วตอบที่เราเข้าใจ • ถ้ามีความเห็นไม่ตรงกับเพื่อนร่วมงานจะทำไง • เอางานปัจจุบัน มาปรับใช้ยังไง • ถามข้อดี ข้อเสียของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี • ถามอีกว่าทำงานกับแพทย์เวลาประชุมใช้ศัพท์เฉพาะทางถ้าไม่รู้ศัพท์ จะทำยังไง • แผน12 กับกรมการแพทย์เกี่ยวกันยังไง • ไม่รู้ศัพท์ทางแพทย์จะทำงานได้เหรอ. • ให้วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี • ไปอยู่ปัตตานีได้ไหม แม่ฮ่องสอนได้ไหม • ทำยังไงให้คนมีความสุข • ถ้ารับผิดชอบโครงการที่เกี่ยวกับทำให้คนมีความสุข จะทำเรื่องอะไร • ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ตนเองทำงาน พัฒนาอย่างไร • ทำไมถึงอยากเป็นข้าราชการ • วุฒิการศึกษาที่ได้กับงานที่ทำมาประยุกต์ใช้กับตำแหน่งนี้อย่างไร • วิเคราะห์องค์กรที่เราเคยทำงานมาก่อน • ตำแหน่งนี้มีหน้าที่อะไร • ให้วิเคราะห์นโยบายของกรมการแพทย์ค่ะ • จะมาทำงานกรมการแพทย์รู้ไหมอธิบดีกรมชื่ออะไร • กรมการแพทย์เป็นหน่วยงานบริการ หรือ วิชาการค่ะ • ทำไมถึงอยากเป็นข้าราชการ เพราะใครๆ เค้าก็บอกว่าข้าราชการทำงานเช้าชามเย็นชาม • ให้ทำงานที่ไม่เคยทำจะทำไง • ถามว่าราชการทหารไม่ดีหรือ ทำไมไม่สอบเลื่อนขั้นของทหาร • งานที่ทำอยู่ กับ งานวิเคราะห์นโยบาย เหมือนกันไหม สามารถเอามาปรับใช้ด้วยกันได้ไหม • แผน 20 ปี กับแผนของกรมการแพทย์ เหมือนหรือแตกต่างกันยังไง วันที่ 20 เม.ย. 2560 • การติดตามงานกรณีงานไม่ก้าวหน้า • ทำไมถึงอยากเป็นนักวิเคราะห์ • ยุทธศาสตร์ชาติ20ปีมีอะไรบ้าง • มีความรู้เรื่องการวิเคราะห์นโยบายและแผนไหม • ถ้าให้คุณสร้างกลยุทธ์ จะทำอย่างไร (ตอบ ก่อนทำในเบื้องต้นคือศึกษารวบรวมปัญหา สร้างองค์ความรู้ ระหว่างทางคือ ผลสัมฤทธิ์ เชิงคุณภาพ ปริมาณ เบื้องปลายคือเป้าหมาย) • ถามได้อะไรจากการทำงาน ได้อะไรจากการดำเนินชีวิตที่ผ่านม • การวางแผนอนาคต 5 ปีข้างหน้า ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการแพทย์ ที่นี่ การเตรียมตัวสอบกรมการแพทย์ คำแนะนำในการสอบกรมการแพทย์ ในการสอบบรรจุเข้ารับราชการในกรมการแพทย์ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการ ลูกจ้าง ไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้ากรมการแพทย์จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 การเตรียมตัวสอบราชการกรมการแพทย์ ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้ ฝึกทำข้อสอบเก่า โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการแพทย์ ที่นี่ ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง 2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ 3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน วิชาที่ใช้สอบราชการกรมการแพทย์ มีดังนี้คือ 1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ( 200 คะแนน ) - ความรู้เกี่ยวกับกรมการแพทย์ - กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง - ความรู้เฉพาะเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ - ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ในปัจจุบัน 2. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง รายละเอียดิชาที่สอบราชการกรมการแพทย์ 1 ความรู้เกี่ยวกับกรมการแพทย์ 2 แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับกรมการแพทย์ 3 แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน 4 การเตรียมตัวสอบภาค ค.กรมการแพทย์ ตำแหน่งที่สอบราชการกรมการแพทย์ ช่างภาพการแพทย์ปฏิบัติการ นักจัดการงานทั่วไป นักทรัพยากรบุคคล กวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิทยาศาสตร์การเเพทย์ (กีฏวิทยา) แหล่งข้อมูลจาก https://www.sheetjula.com/ สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/ >รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << >> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ << >> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ << >> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน << |
6
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / ใครไปสอบกรมการปกครองมาบ้างคะ ??? เล่าให้ฟังหน่อย
เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2022, 08:20:44 pm
|
||
เริ่มโดย sheetbook8899 - กระทู้ล่าสุด โดย sheetbook8899 | ||
การเตรียมตัวสอบกรมการปกครอง
คำแนะนำในการสอบกรมการปกครอง กรมการปกครอง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำเนินงานเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน การบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน การดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร และการขออนุญาตต่างๆ ตามกฎหมาย ในการสอบเข้ากรมการปกครอง การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ. ก่อน แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้ากรมการปกครอง จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการปกครอง ที่นี่ การเตรียมตัวสอบ กรมการปกครอง ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้ ฝึกทำข้อสอบเก่า โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ ถ้าพวกวิชาความรู้ทั่วไป ให้เน้นทำข้อสอบให้มากๆ วิชาคณิต-ไทย แนะนำให้อ่านพวกแนวข้อสอบ กพ. เช่น อนุกรม อุปมาอุปไมยเล็กน้อย ให้อ่านแบบกว้างๆ เน้นเข้าใจ ภาษาอังกฤษ เน้นอ่านศัพท์ technology หน่อย reading มีประมาณ ให้เน้นแปลศัพท์ได้ตอบคำถามถูก ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการปกครอง ที่นี่ นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง 2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ 3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการปกครองที่นี่ วิชาที่ใช้สอบกรมการปกครอง มีดังนี้คือ การประเมินครั้งที่ 1 โดยวิธีสอบข้อเขียน (100 คะแนน) แบ่งเป็น 1.ความรู้ความสามารถทั่วไป 50 คะแนน ประกอบด้วย - ทดสอบความสามารถในการคิดและหาเหตุผล โดยใช้ข้อมูลทางสังคม เศรษฐกิจ หรือทางการเมืองหรือจับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราวที่เหมาะสมแก่การทดสอบดังกล่าว - การใช้ภาษาไทย ทดสอบความเข้าใจภาษา โดยอ่าน ทำความเข้าใจ สรุปและตีความข้อความหือบทความที่กำหนด และการใช้ภาษา โดยการใช้คำหรือกลุ่มคำ ความถูกต้องทางหลักภาษา - ความรู้ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ (Word, Excel, PowerPoint) - ความรอบรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 2. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง 50 คะแนน - วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจของกรมการปกครอง - ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ กฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับกรมการปกครอง การประเมินครั้งที่ 2 โดยการสอบสัมภาษณ์ (100 คะแนน) พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ วิชาที่ใช้สอบกรมการปกครอง มีดังนี้คือ 1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ( 200 คะแนน ) (1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และการบริหารราชการแผ่นดิน (2) ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ปัจจุบันทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีของประเทศไทยและต่างประเทศ (3) ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน ในอํานาจหน้าที่ของกรมการปกครอง (4) ความรู้เกี่ยวกับการอํานวยความเป็นธรรมของฝ่ายปกครอง (5) ความรู้เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยลักษณะ ปกครองท้องที่ ที่เกี่ยวข้องกับกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกํานัน แพทย์ประจําตําบล และคณะกรรมการหมู่บ้าน (6) ความรู้เกี่ยวกับงานกิจการกองอาสารักษาดินแดน (7) ความรู้เกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร งานบัตรประจําตัวประชาชน และงานทะเบียนทั่วไป ( ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ เช่น กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ กฎหมายว่าด้วยการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ กฎหมายว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (9) จรรยาข้าราชการกรมการปกครอง 2. การสอบสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการปกครอง ที่นี่ รายละเอียดวิชาที่สอบกรมการปกครอง เจ้าหน้าที่ปกครองปฏิบัติงาน กรมการปกครอง 1 ความรู้เกี่ยวกับกรมการปกครอง 2 แนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม 3 แนวข้อสอบการปกครองท้องที่ 4 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 5 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติบัตรประจาตัวประชาชน พ.ศ.2526 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม 6 การรักษาความสงบเรียบร้อยและการอำนวยความเป็นธรรม 7.แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 8 แนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 9 กฎหมายปกครอง 10 การรักษาความมั่นคงภายใน 11 การรักษาความสงบเรียบร้อย 12 การอำนวยความเป็นธรรม 13 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม 14 แนวข้อสอบเก่ากรมการปกครอง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการในสังกัดกรมการปกครอง -ความรู้ด้านการเมือง การปกครองและการบริการราชการ -ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมสถานการณ์ เศรษฐกิจ ปัจจุบัน -วิสัยทัศน์ โครงสร้าง พันธกิจกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย -ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ -ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายว่าด้วยระเบียบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบการข้าราชการผลเรือน การรักษาความลับทางราชการ ระเบียบเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน การคลังและพัสดุ ฯลฯ แหล่งข้อมูลจาก https://www.sheetjula.com/ สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/ >รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << >> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ << >> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ << >> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน << |
7
ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ / ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ โฆษณาหนังสือแนวข้อสอบ / เคยทำข้อสอบกรมการบินพลเรือนไม่ยากถ้ารู้แนวข้อสอบ
เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2022, 08:15:37 pm
|
||
เริ่มโดย sheetbook8899 - กระทู้ล่าสุด โดย sheetbook8899 | ||
สมบัติหลักๆ ของผู้เรียนกรมการบินพลเรือน
1.สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือคอมพิวเตอร์ 2. ใช้ภาษาอังกฤษได้ดี 3. บุคลิกดี 4. ความสูงไม่น้อยกว่า 165 ซ.ม. 5. อายุไม่เกิน 38 ปี 6. ไม่สายตาสั้น และต้องไม่ตาบอดสี 7. ปฏิภาณไหวพริบดี มีสำนึกในความปลอดภัย 8. รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นสูง 9. สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว 10. ละเอียดรอบคอบ ความจำดี ช่างสังเกต ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการบินพลเรือน ที่นี่ ในการขับเครื่องบินนั้นจะต้องได้รับใบอนุญาตการบิน ผ่านการตรวจร่างกาย และทดสอบทางจิตเวชจากสถาบันเวชศาสตร์การบินหลังจากผ่านการสอบคัดเลือกตำแหน่งตามเงื่อนไข จะถูกส่งเข้าศึกษาต่อหลักสูตรการบินในสถาบันการบินพลเรือน ในหลักสูตร 1.หลักสูตรวิชานักบินพาณิชย์ตรี เวลาศึกษา 20 เดือน ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรประมาณ 2,200,000 บาท 2.หลักสูตรวิชานักบินเฮลิคอปเตอร์ตรี เวลาศึกษา 8 เดือน ค่าใช้จ่ายประมาณ 600,000 บาท 3.หลักสูตรพิเศษ เช่น หลักสูตรวิชานักบินส่วนบุคคล และหลักสูตรเพิ่มวุฒิการบินต่างๆ ได้แก่ การบินหลายเครื่องยนต์ และการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน ค่าใช้จ่ายประมาณ 1,800,000 บาท เนื่องจากสถาบันการบินพลเรือนเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่ได้รับความช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติ มีหน้าที่ฝึกอบรมนักศึกษาทั้งในประเทศไทยและประเทศในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ในแขวงวิชาชีพต่างๆ ของกิจการการบินพลเรือน นักศึกษาส่วนใหญ่จึงเป็นนักศึกษาฝากเรียนจากหน่วยราชการ องค์การ รัฐวิสาหกิจ จะรับนักศึกษาที่เรียนโดยทุนส่วนตัวเป็นจำนวนน้อย ทั้งนี้เพราะค่าใช้จ่ายในการศึกษาสูงมาก ไม่ต่ำกว่า 1,000,000 บาท แต่สำหรับบางบริษัทการบิน เช่น บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) จะมีให้ทุนสำหรับบุคคลทั่วไปเพื่อสอบเข้าเป็นนักบินฝึกหัดทุนการบินไทย ส่วนสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนเกี่ยวกับวิศวกรรมการบินและอวกาศ ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการบินพลเรือน ที่นี่ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุรนารี เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วอยากเป็นนักบินก็ต้องเข้าเรียนหรืออบรมตามหลักสูตรข้างต้นเช่นเดียวกัน น้องๆ คนไหนสนใจเป็นนักบินก็ต้องตั้งใจเรียนและมีคุณสมบัติตามที่บอกไปนะคะ ฝันให้ไกลแล้วไปให้ถึงนะคะ อยากทำงานกรมการบินพลเรือน ต้องทำอย่างไร สาขาธุรกิจการบิน บุคลิกภาพของผู้เรียน 1.สนใจเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ 2.มีมนุษยสัมพันธ์ดี 3.มั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออก ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4.บุคลิกดี อดทน และมีใจรักงานบริการ ฯลฯ สาขาธุรกิจการบิน "เราสร้างมืออาชีพสู่โลกธุรกิจการบิน" มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในธุรกิจการบิน โดยหลักสูตรได้บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และรวบรวม องค์ความรู้เกี่ยวกับงานธุรกิจการบินที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาเป็นหลักสูตรวิชาชีพที่ทันสมัย เน้นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถ ในการแข่งขันสู่ตลาดแรงงานสากลด้านธุรกิจการบินที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชีย หลักสูตรจะครอบคลุมการวางแผนและการพัฒนา การบริการ การสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาต่างประเทศ กฎหมาย และการอนุรักษ์ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ การจัดการศึกษาจึงเป็นไป อย่างมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของภาคธุรกิจ สังคมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ นักศึกษาจะมีโอกาสได้ฝึกประสบการณ์ทั้งจากการเรียนในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการและการทำงานเสมือนหนึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีชื่อเสียงในด้านธุรกิจการบิน เนื่องจากมีเครือข่ายความ ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีชื่อเสียงในด้านธุรกิจการบินอย่างกว้างขวาง ดาวน์โหลดหนังสือเตรียมสอบกรมการบินพลเรือน ที่นี่ โอกาสทางวิชาชีพกรมการบินพลเรือน - พนักงานบริการและต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตสและสจ๊วต) - พนักงานบริการและต้อนรับภาคพื้น - พนักงานฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ - เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่น การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยกรมศุลกากร กรมการขนส่งทางอากาศ สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมืองแผนกสำรองที่นั่งและจัดจำหน่ายบัตโดยสารของบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยวโอกาสทางวิชาชีพ - พนักงานบริการและต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตสและสจ๊วต)- พนักงานบริการและต้อนรับภาคพื้น-พนักงานฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ - เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่นการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยกรมศุลกากร กรมการขนส่งทางอากาศสำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมืองแผนกสำรองที่นั่งและจัดจำหน่ายบัตรโดยสารของบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยว ฯลฯ การประกอบอาชีพในอนาคต -พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน -พนักงานบริการภาคพื้นของสายการบิน -พนักงานการท่าอากาศยาน -พนักงานของบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด -พนักงานบริษัทขนส่งทางอากาศ -พนักงานบริษัทตัวแทนจำหน่ายบัตรโดยสาร -ผู้ประกอบการธุรกิจตัวแทนจำหน่ายบัตรโดยสาร ฯลฯ สาขาการจัดการธุรกิจการบิน อุตสาหกรรมการบิน เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่เป็นเครื่องมือสำคัญของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งปัจจุบันมีความสำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากความต้องการในการเดินทางที่สะดวกรวดเร็วขึ้น การตอบสนองด้านการท่องเที่ยว การประกอบธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศ ที่สำคัญประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเป็นศูนย์กลางด้านการบิน ดังนั้นจึงเป็นโอกาสดีที่จะผลิตบัณฑิตด้านการจัดการธุรกิจการบินเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการบิน โดยร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนสนับสนุนให้บัณฑิตมีคุณภาพ โดยการทอดความรู้ความสามารถจากผู้ที่มีประสบการณ์ตรงในสาขาวิชาชีพทางด้านธุรกิจการบินที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน โดยเน้นทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงานสากลด้านธุรกิจการบิน ตลอดจนเชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ในวิชาชีพเป็นวิทยากรพิเศษส่งเสริม ให้หลักสูตรมีความเข้มแข็งในการพัฒนาบัณฑิต การพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบินจึงมีความสำคัญ และสอดคล้องกับความต้องการขององค์การต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ โอกาสทางวิชาชีพ (1) พนักงานบริการและต้อนรับบนเครื่องบิน ( flight attendant ) (2) พนักงานบริการและต้อนรับภาคพื้นดิน (3) เจ้าหน้าที่ฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ เจ้าหน้าที่แผนกคลังสินค้าทางอากาศ (Air Cargo) กรมการขนส่งทางอากาศ (4) เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่น บริษัท การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำกัด (มหาชน) (5) กรมศุลกากร สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (6) เจ้าหน้าที่แผนกสำรองที่นั่งและจัดจำหน่ายบัตรโดยสารของบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยว ตัวแทนส่งเสริมการตลาดสายการบินต่างๆ ฯลฯ โอกาสในการทำงาน ปูพื้นฐานสู่การเป็นผู้ประกอบการ ตลอดจนการทำงานในภาค ธุรกิจและภาคเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายต่างประเทศ ฝ่ายจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ฝ่ายวิเคราะห์วางแผนและควบคุมคุณภาพการผลิตและ ปฏิบัติการ ฝ่ายการเงินและอาชีพเฉพาะด้าน อาทิ ที่ปรึกษาทางการลงทุนที่ปรึกษาการวางแผนการเงิน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ฯลฯ CAAT (The Civil Aviation Authority of Thailand) หรือ สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังทุกการเดินทางโดยเครื่องบินของคุณ จัดเป็นหน่วยงานของรัฐ ขึ้นตรงกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ควบคุม ส่งเสริมและพัฒนากิจการการบินพลเรือนของประเทศ ทั้งด้านมาตรฐานความปลอดภัย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรฐานสากล เพื่อความปลอดภัยของสูงสุดของเจ้าหน้าที่และผู้โดยสารทุกคน 1.หน้าที่ของ CAAT ครอบคลุมถึงเรื่องใดบ้าง? เพื่อความปลอดภัยของประชาชนที่เดินทางด้วยเครื่องบิน CAAT มีหน้าที่ในการกำกับ ดูแล ควบคุมทุกเรื่องที่เกี่ยวกับการบิน และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับข้องกับการโดยสารด้วยเครื่องบิน ดังนี้ -กำกับ ดูแล ตรวจสอบการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมายและมาตรฐานสากลเพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสารทุกคน -ออกใบอนุญาตให้กับ นักบิน เจ้าหน้าที่การบิน อากาศยานต่างๆ รวมไปถึงโดรน -รับรองหลักสูตรและสถาบันฝึกอบรมบุคลากรด้านการบิน -ไม่เพียงเท่านั้น CAAT ยังมีหน้าที่ทางด้านเศรษฐกิจในการส่งเสริมกิจการการบินพลเรือนของประเทศไทย หน้าที่การดูแลจึงไม่ใช่เฉพาะผู้โดยสาร แต่ยังครอบคลุมในทุกๆ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบิน CAAT จึงมีหน้าที่คอยดูแลความปลอดภัยให้ประชาชนโดยกำหนดมาตรฐานการทำงานของผู้ประจำหน้าที่ ตั้งแต่ตรวจสอบการทำงานของเจ้าที่ตรวจกระเป๋าที่สนามบิน กำกับการตรวจสอบสภาพเครื่องบินก่อนออกเดินทาง ดูแลการปฏิบัติงานของลูกเรือ รวมไปถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่ในอุตสาหกรรมการบิน 2.หน้าที่การดูแลจึงไม่ใช่เฉพาะผู้โดยสาร แต่ยังครอบคลุมในทุกๆ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบิน CAAT จึงมีหน้าที่คอยดูแลความปลอดภัยให้ประชาชนโดยกำหนดมาตรฐานการทำงานของผู้ประจำหน้าที่ ตั้งแต่ตรวจสอบการทำงานของเจ้าที่ตรวจกระเป๋าที่สนามบิน กำกับการตรวจสอบสภาพเครื่องบินก่อนออกเดินทาง ดูแลการปฏิบัติงานของลูกเรือ รวมไปถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่ในอุตสาหกรรมการบิน 3.รับรองนักบิน เจ้าหน้าที่ รวมถึงหลักสูตรด้านการบิน CAAT เชื่อว่าความปลอดภัยต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ได้นักบินและเจ้าหน้าที่ที่มีคุณภาพ จึงคัดกรองและรับรองหลักสูตรของสถาบันฝึกอบรมด้านการบินให้ได้มาตรฐานสากล เพื่อให้ทุกการเดินทางเต็มไปด้วยคุณภาพและความปลอดภั 4.ใส่ใจดูแลจนถึงการตรวจสอบเครื่องบิน ความสำคัญของการกำกับดูแล ตรวจสอบมาตรฐานการทำงานของช่างซ่อมบำรุง เป็นอีกสิ่งที่ละเลยไม่ได้ เพราะนอตเพียง 1 ตัว ที่ตกหล่นไป ก็อาจมีผลให้เกิดความเสียหายเกินคาดคิดได้ แหล่งข้อมูลจาก https://www.sheetjula.com/ สั่งซื้อหนังสือสอบราชการที่ https://www.rtamd.co.th/ >รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << >> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ << >> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ << >> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน << |
8
เมื่อ: เมษายน 08, 2022, 10:33:56 am
|
||
เริ่มโดย soodgame - กระทู้ล่าสุด โดย soodgame | ||
โค๊ด: https://xn--12co8c8awr6cey.blogspot.com/2022/03/blog-post.html |
9
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2022, 03:25:26 pm
|
||
เริ่มโดย soodgame - กระทู้ล่าสุด โดย soodgame | ||
โค๊ด: https://dohomework.site/html/createHomework.html |
10
เมื่อ: มกราคม 04, 2022, 11:53:36 am
|
||
เริ่มโดย soodgame - กระทู้ล่าสุด โดย soodgame | ||
โค๊ด: https://xn--12caaj9lma0a0bq2bee.blogspot.com/2021/12/blog-post.html |