คณิตศาสตร์ MATHEMATICS

ข้อมูล ศึกษาต่อ สอบบรรจุข้ารางการ รับสมัครงาน => เคมี => ข้อความที่เริ่มโดย: teach ที่ ตุลาคม 21, 2016, 02:12:10 pm



หัวข้อ: เฉลย เคมีเพิ่มเติม เล่ม 1 (สสวท.) คู่มือครู เคมี เล่ม 1 รายวิชาเพิ่มเติม
เริ่มหัวข้อโดย: teach ที่ ตุลาคม 21, 2016, 02:12:10 pm
ดาวโหลด เฉลย เคมีเพิ่มเติม เล่ม 1(สสวท.)+ คู่มือครู เคมี เล่ม 1 รายวิชาเพิ่มเติม (http://www.go-th.com/math/go.php?url=aHR0cDovL3d3dy5zY2ltYXRoLm9yZy9lYm9vay8lRTAlQjglODQlRTAlQjglQjklRTAlQjklODglRTAlQjglQTElRTAlQjglQjclRTAlQjglQUQlRTAlQjglODQlRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjkvJUUwJUI4JUE3JUUwJUI4JUI0JUUwJUI4JTk3JUUwJUI4JUEyJUUwJUI4JUIyJUUwJUI4JUE4JUUwJUI4JUIyJUUwJUI4JUFBJUUwJUI4JTk1JUUwJUI4JUEzJUUwJUI5JThDLyVFMCVCOSU4MCVFMCVCOCU4NCVFMCVCOCVBMSVFMCVCOCVCNSVFMCVCOSU4MCVFMCVCOCU5RSVFMCVCOCVCNCVFMCVCOSU4OCVFMCVCOCVBMSVFMCVCOSU4MCVFMCVCOCU5NSVFMCVCOCVCNCVFMCVCOCVBMS0lRTAlQjklODAlRTAlQjglQTUlRTAlQjklODglRTAlQjglQTExLSVFMCVCOCVBMS40LTYvaW5kZXguaHRtbA==)
เฉลย เคมีเพิ่มเติม เล่ม 1(สสวท.)
คู่มือครู เคมี เล่ม 1 รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาเคมี สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย เคมีเพิ่มเติม เล่ม 1(สสวท.)+ คู่มือครู เคมี เล่ม 1 รายวิชาเพิ่มเติม ได้ที่นี่ค่ะ (http://www.go-th.com/math/go.php?url=aHR0cDovL2NoZW0tYW5zLmJsb2dzcG90LmNvbS8yMDE2LzEwLzEuaHRtbA==)

หมายเหตุ  สำหรับใครที่เปิดไม่ได้ แนะนำให้ดาวน์โหลดโปรแกรม Adobe Flash Player ค่ะ  
      
          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1  อะตอมและตารางธาตุ
1.1 แบบจำลองอะตอม
     1.1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
     1.1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
     1.1.3.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม
     1.1.3.2 เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป
เฉลยแบบฝึกหัด 1.1  หน้า 25-26
     1.1.4 แบบจำลองอะตอมของไบร์
     1.1.4.1 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
     1.1.4.2 สเปกตรัม
     1.1.4.3 สเปกตรัมของธาตุและการแปลความหมาย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.2  หน้า 34-35
     1.1.5 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
     1.1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3  หน้า 39-41
1.2 ตารางธาตุ
     1.2.1 วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ
     1.2.2 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
          1.2.2.1 ขนาดอะตอม
          1.2.2.2 รัศมีไอออน
          1.2.2.3 พลังงานไอออไนเซชัน
เฉลยแบบฝึกหัด 1.4  หน้า 48-49
       1.2.2.4 อิเล็กโทรเนกาติวิตี
       1.2.2.5 สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
       1.2.2.6 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
       1.2.2.7 เลขออกซิเดชัน
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท หน้า 55-61
(http://www.go-th.com/math/go.php?url=aHR0cDovL2NoZW0tYW5zLmJsb2dzcG90LmNvbS8yMDE2LzEwLzEuaHRtbA==)  


บทที่ 2  พันธะเคมี
2.1 พันธะโคเวเลนต์
     2.1.1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์
     2.1.2 ชนิดพันธะโคเวเลนต์
     2.1.3 โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
     2.1.4 การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
เฉลยแบบฝึกหัด 2.1  หน้า 77-78
     2.1.5 ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
เฉลยแบบฝึกหัด 2.2  หน้า 80-82
     2.1.6 แนวคิดเกี่ยวกับเโซแนนซ์
     2.1.7 รูปร่างของโมเลกุล
เฉลยแบบฝึกหัด 2.3  หน้า 88-90
     2.1.8 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
เฉลยแบบฝึกหัด 2.4  หน้า 92-94
     2.1.9 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เฉลยแบบฝึกหัด 2.5  หน้า 98-99
     2.1.10 สารโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย
2.2 พันธะไอออนิก
     2.2.1 การเกิดพันธะไอออนิก
     2.2.2 โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
     2.2.3 การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไปออนิก
เฉลยแบบฝึกหัด 2.6  หน้า 102-104
     2.2.4 พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
เฉลยแบบฝึกหัด 2.7  หน้า 105-107
     2.2.5 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
เฉลยแบบฝึกหัด 2.8  หน้า 116-118
2.3 พันธะโลหะ
     2.3.1 สมบัติของโลหะ
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท  หน้า 121-126
(http://www.go-th.com/math/go.php?url=aHR0cDovL2NoZW0tYW5zLmJsb2dzcG90LmNvbS8yMDE2LzEwLzEuaHRtbA==)


บทที่ 3  สมบัติของธาตุและสารประกอบ
3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ
เฉลยแบบฝึกหัด 3.1  หน้า 137-138
3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่
     3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA และ IIA
     3.2.2 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA
เฉลยแบบฝึกหัด 3.2  หน้า 147-149
3.3 ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ
3.4 ธาตุแทรนซิชัน
     3.4.1 สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
     3.4.2 สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
     3.4.3 สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
เฉลยแบบฝึกหัด 3.3  หน้า 158-160
3.5 ธาตุกึ่งโลหะ
3.6 ธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.1 การเกิดกัมมันตภาพรังสี
     3.6.2 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.3 ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.4 ปฏิกิริยานิวเคลียร์
     3.6.5 การตรวจสอบสารกัมมันตรังสีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตรังสี
เฉลยแบบฝึกหัด 3.4  หน้า 163-167
3.7 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
3.8 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท  หน้า 171-174
(http://www.go-th.com/math/go.php?url=aHR0cDovL2NoZW0tYW5zLmJsb2dzcG90LmNvbS8yMDE2LzEwLzEuaHRtbA==)

อ้างอิงจาก  คู่มือครู เคมี เล่ม 1 รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี